The Ultimate Guide To สังคมผู้สูงอายุ
The Ultimate Guide To สังคมผู้สูงอายุ
Blog Article
งานวิจัยและสิ่งพิมพ์ งานวิจัย กลุ่มงานวิจัย
“จริงๆ รัฐบาลก็มีแผนแม่บทรองรับไว้บ้างแล้ว เพียงแต่เรื่องนี้ต้องอาศัยกลไกการทำงานเชิงบูรณาการ ทั้งนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และอีกหลายๆ มิติ ซึ่งสำหรับเมืองไทย เมื่อไรก็ตามที่ต้องการการทำงานร่วมกันแบบนี้ ก็มักจะไปได้ค่อนข้างช้า” รศ.ดร.นพพล กล่าวย้ำ
“ในประเทศไทย เราไม่มีกระบวนการช่วยเหลือผู้สูงอายุในทางอื่นมากนัก การมีลูกจึงเท่ากับการมีหลักประกันของคุณภาพชีวิตในยามสูงวัย ในด้านรายได้ ผู้สูงอายุที่ไม่ได้ทำงานแล้วและมีลูกก็ยังมีลูกให้พึ่งพาได้ ในด้านสุขภาพ ผู้สูงอายุที่มีลูกก็อาจมีสุขภาพดีกว่าคนไม่มี เพราะมีคนคอยดูแล และพาไปโรงพยาบาล และสุดท้าย ในด้านสังคม การมีลูกยังทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกยังมีส่วนร่วมในสังคม ทำให้รู้จักเพื่อนบ้านที่มีลูกเล่นด้วยกันหรือครอบครัวของเพื่อนลูก การมีลูกจึงเป็นปัจจัยสำคัญของความสุข ผิดกับโลกตะวันตกที่ผู้สูงอายุยังพอมีรายได้ พอดูแลตัวเองได้ หรือไม่ก็ได้รับสวัสดิการรัฐโดยไม่ต้องพึ่งบุตรหลาน การมีหรือไม่มีลูกจึงไม่ใช่เงื่อนไขของความสุขในชีวิต” รศ.
การเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ คงไม่ใช่มุ่งเน้นเฉพาะกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุเท่านั้น แต่เป็นเรื่องของคนทุกช่วงวัยที่ต้องเตรียมความพร้อม ต้องตระหนักและสร้างหลักประกันให้กับตนเองทั้งด้านสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง การเงินที่มั่นคง การดำรงชึวิตอย่างมีศักดิ์ศรี เพื่อก้าวสู่การเป็นผู้สูงวัยอย่างมีคุณค่าและคุณภาพ
พระราชบัญญัติสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒
แผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรม และรายงานผลการดำเนินงาน
ศูนย์เครือข่ายการเรียนรู้เพื่อภูมิภาค
โคโค่แลมป์ แก้ปัญหาลูกเต่าหลงทาง นวัตกรรมพิทักษ์ชีวิตลูกเต่าทะเล จากนิสิตจุฬาฯ
ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสารและของเสียอันตราย
ผลการเข้าสู่สังคมสูงวัยของประเทศไทยมาจากการเปลี่ยนผ่านทางประชากรทั้งอัตราการเกิด หรือภาวะเจริญพันธุ์ลดลง ภาวะการเสียชีวิตในกลุ่มเด็กและวัยแรงงานลดลงอันสืบเนื่องมาจากการพัฒนาในระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน โภชนาการ การศึกษา เศรษฐกิจและความก้าวหน้าทางการแพทย์ ทำให้ประชากรมีอายุขัยเฉลี่ยมากขึ้น
ตลาดสินค้าและบริการสำหรับผู้สูงอายุมีแนวโน้มเติบโต แต่ก็ยังไม่พอและไม่ทันกับจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นมาก อายุยืนยาวขึ้น และอัตราการเสียชีวิตช้าลง
ศูนย์ประสานงานด้านความเสมอภาคหญิงชาย
ความต้องการสินค้าและบริการในตลาด “silver economic system” หรือตลาดผู้สูงวัย กำลังเฟื่องฟูในประเทศไทย เช่นเดียวกับประเทศอาเซียนอื่น ๆ ซึ่งในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาประเทศอาเซียนได้เห็นการใช้จ่ายด้านสุขภาพที่เพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยจำนวนเงินที่ใช้จ่ายจากผู้สูงอายุในอาเซียน และกับผู้สูงอายุชาวไทย คาดว่าจะเพิ่มขึ้นในอัตราที่เร็วกว่าอายุที่เพิ่มขึ้นของประชากร เป็นผลจากการเติบโตของเทคโนโลยีใหม่ ๆ ค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคและอาการป่วยเรื้อรัง และโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า
I've study the Privateness Observe and consent to my particular information being processed, to your extent important, to post my comment for moderation. I also สังคมผู้สูงอายุ consent to owning my identify printed.